วันเสาร์ที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2555

สารเคมีที่ใช้ในการผลิตสบู่ Sodium cocoyl isethionate

สารเคมีที่ใช้ในการผลิตสบู่
http://www.mildsoapandcosmetic.com/
จำหน่ายวัตถุดิบในการทำสบู่และเครื่องสำอาง

Sodium cocoyl isethionate
ที่มา   ผลิตจากน้ำมันมะพร้าว ลักษณะเป็นผงละเอียด หรือ เป็นเส้นเล็กสั้นๆ
          หรือเกล็ด(flake)สีขาวขุ่น
คุณสมบัติ 1. เมื่อใช้ร่วมกับ สบู่ ป้องกันการเกิด Ca-soap ,
                                ช่วยลดความระคายเคือง ,ต่อผิวหนัง   
                   2.ย่อยสลายตามธรรมชาติ
                        3. มีคุณสมบัติเป็นสารซักล้าง(detergency),PH 4.5-6     
           วิธีใช้ 1.เป็นสารตั้งต้น หรือส่วนผสมในการผลิตสบู่ ทั้งชนิดก้อนและสบู่เหลว
                เข้ากันได้ดีกับ Na-soap, K-soap ช่วยเพิ่มปริมาณฟอง
                ความคงตัวของฟอง ,
          2. ใช้ในการเตรียมสบู่ใส
               3.ใช้เป็นส่วนผสมใน แชมพูสระผม โฟมล้างหน้า ผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดอื่นๆ
                  ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ sodium cocoyl isethionate
            เช่นสบู่ โดฟ (DOVE BAR SOAP)



สบู่โดฟ เป็นสบู่ชนิดสังเคราะห์ (SYNDET BAR SOAP )

SODIUM COCOYLISETHIONATE หรือ ACYL ISETHIONATE เป็นสารทำความสะอาดหลัก

DODECYLBENZENESULFONATE (DBS) ช่วยเพิ่มฟอง

FATTY ACIDS ช่วยเพิ่มความเรียบลื่นง่ายต่อการผลิต รวมตัวเป็นก้อน

SALTหรือ เกลือ ช่วยให้สบู่มีความแข็งมากขึ้น





ฝรั่งใช้ DOVE แล้วสวยประมาณเนี้ย ว้าว ! 

ตัวอย่างสูตรสบู่ใสที่ใช้ 
SODIUM COCOYLISETHIONATE (TAURANOL I-78)

   ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่          
                         เรื่อง TRANSPARENT COMBINATION SOAP-SYNTHETIC DETERGENT BAR

บทความเกี่ยวกับ ISETHIONATE


The soap chamber test. A new method for assessing the irritancy of soaps

Abstract 

The chamber test for assessing the irritancy of soaps entails five weekday exposures to 8% solutions with readings of scaling, redness, and fissuring on the following Monday. Eighteen well-known toilet soaps were evaluated. Great differences were noted. Most had an appreciable irritancy potential. These results contrast with a number of studies which failed to show differences among soaps or which concluded that soaps were innocuous. (J Am Acad Dermatol 1979 Jul;1(1):35-41)
 






      

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น